วันมาฆบูชา OPTIONS

วันมาฆบูชา Options

วันมาฆบูชา Options

Blog Article

โอวาทปาฏิโมกข์ - หลักคำสอนสำคัญของพระพุทธศาสนา หรือคำสอนอันเป็นหัวใจของพระพุทธศาสนา ได้แก่ พระพุทธพจน์ ๓ คาถากึ่ง ที่พระพุทธเจ้าตรัสแก่พระอรหันต์ ๑,๒๕๐ รูป ผู้ไปประชุมกันโดยมิได้นัดหมาย ณ พระเวฬุวนาราม ในวันเพ็ญเดือน ๓ ที่เราเรียกกันว่าวันมาฆบูชา (ถรรถกถากล่าวว่า พระพุทธเจ้าทรงแสดงโอวาทปาฏิโมกข์นี้ แก่ที่ประชุมสงฆ์ตลอดมา เป็นเวลา ๒๐ พรรษา ก่อนที่จะโปรดให้สวดปาฏิโมกข์อย่างปัจจุบันนี้แทนต่อมา)  

โดยพระพุทธพจน์คาถาที่สองนี้ในโอวาทปาฏิโมกข์ที่พุทธศาสนิกชนมักท่องจำไปปฏิบัติ ซึ่งเป็นเพียงหนึ่งในคาถาสามคาถากึ่งเท่านั้น

การทำจิตให้ผ่องใส ได้แก่ การทำจิตของตนให้ผ่องใส ปราศจากนวรณ์ซึ่งเป็นเครื่องขัดขวางจิตไม่ให้เข้าถึงความสงบ มี ๕ ประการ ได้แก่ ความพอใจในกาม (กามฉันทะ)

ราชกิจจาฯ ประกาศห้ามครอบครอง "ปลาหมอคางดำ" กำหนดพื้นที่ระบาด

• นาคราชผู้อาภัพ เขียนโดย สืบ ธรรมไทย

จุด ที่เกิดเหตุการณ์สำคัญในวันมาฆบูชา (ลานจาตุรงคสันนิบาต)

ณ เวลาเดียวกัน ผู้มีบุญหลากหลายเชื้อชาติ ที่อยู่ในจุดต่างๆทั่วโลก ทุกคนหลับตารวมใจอยู่ที่กลางกายทำสมาธิพร้อมๆกัน กลั่นความปรารถนาดี ที่จะให้บุคคลที่เป็นที่รักและสรรพสัตว์ทั้งหลายในโลกนี้พ้นจากความทุกข์ พบแต่ความสุข พลังแห่งความบริสุทธิ์ วันมาฆบูชา ณ ศูนย์กลางกายของเราทุกคน แผ่ขยายความรัก ความเมตตาออกไปทุกทิศทุกทาง และ พลังแห่งความรักความปรารถนาดีจากใจที่เป็นสมาธิแน่วแน่ของพวกเราทุกคนนี้ ร่วมกันอธิษฐานกลั่นให้โลกใบนี้ของเราให้เป็นโลกแก้วบริสุทธิ์

พระสงค์จะเป็นผู้นำประกอบพิธีต่างๆ ให้โอวาท สวดมนต์ แสดงธรรมและประวัติความเป็นมาของวันมาฆบูชา และเจริญสมาธิภาวนา

“ทวี” ยัน “ทักษิณ” พ้นโทษแล้ว หลังมีชื่อได้รับพระราชทานอภัยโทษ

กรมอนามัย แนะ มาฆบูชา ตักบาตรด้วย ‘เมนูชูสุขภาพ’ หรือ ‘ทำบุญออนไลน์’ ทางเลือกคนไม่สะดวกไปวัด

วันมาฆบูชา ถือว่าเป็นวันพระใหญ่ การไม่ทำบาป ไม่ทำชั่ว ด้วยการ ลด ละ เลิก สิ่งที่ไม่ดีทั้งหลาย ที่จะก่อให้เกิดผลไปในทางที่ไม่ดี ซึ่งเป็นทางแห่งความชั่ว ไม่ว่าจะเป็นการทำบาปหรือทำชั่วทั้งกาย อย่างการฆ่าสัตว์ ขโมยของหรือผิดลูกเมียชาวบ้าน ทำชั่วทางวาจา คือการพูดเท็จ การพูดส่อเสียด หรือแดกดัน คนอื่นโดยเจตนา และทำชั่วทางใจ คือ คิดอยากได้ของๆคนอื่นหรือใจผูกพยาบาท และความเห็นผิดเป็นชอบ

ปัจจุบันหลังถูกทอด ทิ้งเป็นเวลากว่าพันปี และได้รับการบูรณะโดยกองโบราณคดีอินเดียในช่วงที่อินเดียยังเป็นอาณานิคมของ อังกฤษ วัดเวฬุวัน ยังคงมีเนินดินโบราณสถานที่ยังไม่ได้ขุดค้นอีกมาก สถานที่สำคัญ ๆ ที่พุทธศาสนิกชนในปัจจุบันนิยมไปนมัสการคือ "พระมูลคันธกุฎี" ที่ปัจจุบันยังไม่ได้ทำการขุดค้น เนื่องจากมีกุโบร์ของชาวมุสลิมสร้างทับไว้ข้างบนเนินดิน, "สระกลันทกนิวาป" ซึ่งปัจจุบันรัฐบาลอินเดียได้ทำการบูรณะใหม่อย่างสวยงาม, และ "ลานจาตุรงคสันนิบาต" อันเป็นลานเล็ก ๆ มีซุ้มประดิษฐานพระพุทธรูปยืนปางประทานพรอยู่กลางซุ้ม ลานนี้เป็นจุดสำคัญที่ชาวพุทธนิยมมาทำการเวียนเทียนสักการะ (ลานนี้เป็นลานที่กองโบราณคดีอินเดียสันนิษฐานว่าพระพุทธองค์ทรงแสดงโอวาท ปาฏิโมกข์ในจุดนี้)

หลักธรรมที่ควรนำไปปฏิบัติในวันมาฆบูชา

ถึงแม้ว่าเหตุการณ์จาตุรงคสันนิบาตจะเป็นเหตุการณ์สำคัญยิ่งที่เกิดในบริเวณวัดเวฬุวันมหาวิหาร แต่ทว่าไม่ปรากฏรายละเอียดในบันทึกของสมณทูตชาวจีนและในพระไตรปิฎกแต่อย่างใดว่าเหตุการณ์ใหญ่นี้เกิดขึ้น ณ จุดใดของวัดเวฬุวัน รวมทั้งจากการขุดค้นทางโบราณคดีก็ไม่ปรากฏหลักฐานว่ามีการทำเครื่องหมาย (เสาหิน) หรือสถูประบุสถานที่ประชุมจาตุรงคสันนิบาตไว้แต่อย่างใด (ตามปกติแล้วบริเวณที่เกิดเหตุการณ์สำคัญทางพระพุทธศาสนา มักจะพบสถูปโบราณหรือเสาหินพระเจ้าอโศกมหาราชสร้างหรือปักไว้เพื่อเป็นเครื่องหมายสำคัญสำหรับผู้แสวงบุญ) ทำให้ในปัจจุบันไม่สามารถทราบโดยแน่ชัดว่าเหตุการณ์จาตุรงคสันนิบาตเกิดขึ้นในจุดใดของวัด

Report this page